ผู้มีสิทธิรับมรดก ถ้าเจ้ามรดก ทำพินัยกรรม

ในกรณีที่เจ้ามรดก ได้ทำพินัยกรรมไว้ ผู้จัดการมรดกก็จะต้องนำทรัพย์มรดกมามอบให้กับทายาท เราเรียกกันว่า “ทายาทผู้รับพินัยกรรม ” การแบ่งในลักษณะนี้ไม่ยากสำหรับคนเป็นผู้จัดการมรดก หรือ ทนายความผู้ดำเนินการให้ จะมีความยาก ก็ตรงผู้รับพินัยกรรม หายตัวไป การตามตัวจะทำได้ยาก หรือในบางราย ทายาทผู้รับพินัยกรรมเสียชีวิตก่อนเจ้ามรดก

หากทายาทผู้รับพินัยกรรมเสียชีวิตก่อน ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1642 ได้กำหนดไว้ว่า ทายาทที่มีสิทธิตามพินัยกรรม แม้ว่าจะมีเหตุการณ์อย่างที่ว่า ก็ไม่มีสิทธิรับมรดกแทนที่ เท่ากับว่า ทาาทของผู้รับตามพินัยกรรม ไม่มีสิทธิที่จะรับมรดกแทนที่ได้อย่างทายาทโดยธรรม

หากทายาทผู้รับพินัยกรรมตายก่อนเจ้ามรดกแล้ว จึงไม่อาจมีการรับมรดกแทนที่ได้ ผู้ที่จะรับทรัพยมรดกส่วนนี้ก็ได้แก่ทายาทโดยธรรม

ต้วอย่าง

นายทักษิณ เป็นผู้รับพินัยกรรม เสียชีวิตก่อน นายประยุทธ ซึ่งเป็นเจ้ามรดก ลูกชายของนายทักษิณ ก็ไม่มีสิทธิรับมรดกแทนที่ของนายทักษิณ ทรัพย์มรดกของนายประยุทธก็จะนำไปแบ่งให้กับทายาทโดยธรรม ต่อไป เช่น พ่อแม่ พี่น้อง ลูก

ต้องการให้ทนายวิรัช ดำเนินการเรื่อง มรดก ผู้จัดการมรดก ต้องทำอย่างไร

การให้บริการด้าน มรดก ผู้จัดการมรดก พินัยกรรม ของทนายวิรัช ให้บริการอย่างดี และมีความเป็นสากล สนองตอบลูกความทุกท่านอย่างมิตรภาพ ให้คำแนะผลดีผลร้ายของการจัดทำเรื่องมรดกให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับลูกความ

สามารถติดต่อทนายวิรัชได้ที่

  • สายด่วน โทร 0812585681 หรือ
  • add line @tanaiwirat

ทนายวิรัชขอมอบสิทธิพิเศษดังนี้

  • ให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์
  • นัดหมายได้ทางโทรศัพท์ หรือ ไลน์ จัดส่งเอกสารได้
  • ยื่นคำร้องจัดการมรดกให้อย่ารวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
  • คำสั่งศาล 1 ชุดฟรี ไม่คิดมูลค่า

ประวัติผู้เขียน

▼ ติดตามผมออนไลน์ได้ที่นี่:

►YouTube –https://www.youtube.com/tanaiwiratdotcom

► Facebook – http://facebook.com/tanaiwiratdotcom

► Twitter – http://twitter.com/tanaiwirat

►Line – https://goo.gl/BeprPy

► Website –https://www.tanaiwirat.com/

=====

▼ สนใจผลงานต่างๆ ราคาพิเศษ มาได้ที่ inbox page:

► Facebook: http://m.me/tanaiwiratdotcom

=====

▼ สนใจผลงาน ในรูปแบบต่างๆ ได้ที่:

►สมัครสมาชิกปรึกษากฎหมายรายปี (สอบถามได้) https://goo.gl/BeprPy

►ปรึกษากฎหมายทางโทรศัพท์ (สอบถามได้) https://goo.gl/BeprPy

►ประกันรถยนต์ ประกันสุขภาพ (สอบถามได้) https://goo.gl/BeprPy

►ศูนย์จัดการมรดก (สอบถามได้)https://goo.gl/BeprPy

►Notary public (สอบถามได้) https://goo.gl/BeprPy

►พ็อคเก็ตบุ๊ค กฎหมายหลายรส 2 https://goo.gl/BeprPy

หรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่: OFFICE : 0812585681

ผู้สนับสนุน (คลิกชมและซื้อสินค้า เท่ากับสนับสนุนทนายวิรัช)

ความหมายของคำว่า ทายาท

ทนายวิรัช เองไปค้นหาจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายของคำว่า ทายาทไว้ว่า เป็นคำนาม ผู้สืบสันดาน ผู้สืบสกุล โดยปริยาย หมายถึงผู้รับหรือผู้อยู่ในฐานะที่จะรับตำแหน่งที่ต่อจากบุคคลอื่น ยกตัวอย่าง บุคคลรวมทั้งทารกในครรภ์มารดาซึ่งมีสิทธิได้รับมรดกของผู้ตาย ถ้าสิทธินั้นเกิดขึ้นตามกฎหมาย เราจะเรียกว่า ทายาทโดยธรรม ถ้าสิทธินั้นเกิดขึ้นตามพินัยกรรม กฎหมายจะเรียกว่า ผู้รับพินัยกรรม

ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1603 บัญญัติไว้ว่า

กองมรดกย่อมตกทอดแก่ทายาทโดยสิทธิตามกฎหมายหรือพินัยกรรม

ทายาทที่มีสิทธิตามกฎหมาย เรียกว่า ทายาทโดยธรรม

ทายาทที่มีสิทธิตามพินนัยกรรม เรียกว่า ผู้รับพินัยกรรม

ขยายภาพให้ชัดๆ

ทายาทโดยธรรม คือได้แก่ทายาทประเภทญาติ และประเภทคู่สมรส โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ทายาทโดยธรรมประเภทญาติ คือ ผู้ที่มีสายสัมพันธ์ทางสายโลหิต รวมทั้งสิ้น 6 ลำดับด้วยกันคือ

1. ผู้สืบสันดาน

2. บิดามารดา

3. พี่น้องร่​วมบิดามารดาเดียวกัน

4. พี่น้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดาเดียวกัน

5. ปู่ ย่า ตา ยาย และ

6. ลุง ป้า น้า อา

ผู้รับพินัยกรรม คือ บุคคลที่ผู้ตาย หรือ เรียกว่า ผู้ทำพินัยกรรม ได้ยกทรัพย์สินให้ อาจเป็นญาติพี่น้อง หรือบุคคลภายนอกก็ได้ และอาจเป็นบุคคลธรรมดา หรือ นิติบุคคลก็ได้ จะเป็นคนใช้ หรือ เมียน้อย ได้ทั้งหมด

ผู้รับพินัยกรรม มีสิทธิได้รับมรดกก่อนทายาทโดยธรรมเสมอ อันนี้เป็นกฎหมาย

สมมุติว่าเจ้ามรดกทำพินัยกรรมยกทรัพย์สินทั้งหมดให้แก่ผู้รับพินัยกรรม ทายาทโดยธรรมก็จะไม่ได้รับมรดกเลย

แต่ถ้าหากเจ้ามรดกยกให้เพียงบางส่วน ทายาทโดยธรรมก็จะได้รับมรดกเฉพาะส่วนที่เหลือจากการทำพินัยกรรม

สุดท้ายหาก พินัยกรรมไม่สมบูรณ์ เช่น พินัยกรรมไม่ได้ลงลายมือชื่อ ผู้รับพินัยกรรมจะไม่มีสิทธิรับมรดกนั้น

ต้องการให้ทนายวิรัช ดำเนินการเรื่อง มรดก ผู้จัดการมรดก ต้องทำอย่างไร

การให้บริการด้าน มรดก ผู้จัดการมรดก พินัยกรรม ของทนายวิรัช ให้บริการอย่างดี และมีความเป็นสากล สนองตอบลูกความทุกท่านอย่างมิตรภาพ ให้คำแนะผลดีผลร้ายของการจัดทำเรื่องมรดกให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับลูกความ

สามารถติดต่อทนายวิรัชได้ที่

  • สายด่วน โทร 0812585681 หรือ
  • add line @tanaiwirat

ทนายวิรัชขอมอบสิทธิพิเศษดังนี้

  • ให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์
  • นัดหมายได้ทางโทรศัพท์ หรือ ไลน์ จัดส่งเอกสารได้
  • ยื่นคำร้องจัดการมรดกให้อย่ารวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
  • คำสั่งศาล 1 ชุดฟรี ไม่คิดมูลค่า

ประวัติผู้เขียน

▼ ติดตามผมออนไลน์ได้ที่นี่:

►YouTube –https://www.youtube.com/tanaiwiratdotcom

► Facebook – http://facebook.com/tanaiwiratdotcom

► Twitter – http://twitter.com/tanaiwirat

►Line – https://goo.gl/BeprPy

► Website –https://www.tanaiwirat.com/

=====

▼ สนใจผลงานต่างๆ ราคาพิเศษ มาได้ที่ inbox page:

► Facebook: http://m.me/tanaiwiratdotcom

=====

▼ สนใจผลงาน ในรูปแบบต่างๆ ได้ที่:

►สมัครสมาชิกปรึกษากฎหมายรายปี (สอบถามได้) https://goo.gl/BeprPy

►ปรึกษากฎหมายทางโทรศัพท์ (สอบถามได้) https://goo.gl/BeprPy

►ประกันรถยนต์ ประกันสุขภาพ (สอบถามได้) https://goo.gl/BeprPy

►ศูนย์จัดการมรดก (สอบถามได้)https://goo.gl/BeprPy

►Notary public (สอบถามได้) https://goo.gl/BeprPy

►พ็อคเก็ตบุ๊ค กฎหมายหลายรส 2 https://goo.gl/BeprPy

หรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่: OFFICE : 0812585681

ผู้สนับสนุน (คลิกชมและซื้อสินค้า เท่ากับสนับสนุนทนายวิรัช)

ความหมายของคำว่า มรดก

กฎหมายมรดก ปัจจุบัน ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 6 ไม่ได้ให้ความหมายไว้ ทนายวิรัชจึงลองไปเปิดดูใน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ได้ให้ความหมายไว้ดังนี้

มรดก เป็นคำนาม อ่านว่า (มอ-ระ-ดก) ซึ่งแปลได้ว่า ทรัพย์สินของผู้ตายที่ตกทอดแก่ทายาทตามกฎหมาย ทรัพย์สินทุกชนิดตลอดทั้งสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบต่างๆ ของผู้ตาย เว้นแต่ตามกฎหมายหรือโดยสภาพแล้ว เป็นการเฉพาะตัวของผู้ตาย เรียกรวมๆ ว่า กองมรดก

ทั้งนี้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1599 และ มาตรา 1600 ได้ให้ความหมายของคำว่า มรดก โดยใช้คำว่า กองมรดก ดังมาตรา 1599 บัญญัติไว้ว่า

“เมื่อบุคคลใดตาย มรดกของบุคคลนั้นตกทอดแก่ทายาท ตามวรรคหนึ่ง” และตามมาตรา 1600 บัญญัติไว้ว่า ภายใต้บังคับของบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้ กองมรดกของผู้ตาย อันได้แก่ ทรัพย์สินทุกชนิดของผู้ตาย ตลอดทั้งสิทธิหน้าที่ และความรับผิดชอบต่างๆ เว้นแต่ตามกฎหมายหรือว่าโดยสภาพแล้ว เป็นการเฉพาะตัวของผู้ตายโดยแท้

ทนายวิรัชเองเคยมีประชาชนสอบถามผ่านสื่อที่ต่างๆ ว่า พ่อแม่ ตายตนเองต้องรับผิดชอบในหนี้สินของพ่อแม่หรือไม่ คำตอบก็คือ ตามมาตรา 1604 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บัญญัติไว้ว่า

“ทายาทไม่จำต้องรับผิดเกินกว่าทรัพย์มรดกที่ตกทอดได้แก่ตน”

หมายความว่า หากพ่อแม่เป็นหนี้แล้วและเสียชีวิตลงทายาทอย่างลูกต้องรับผิดชอบ เพียงแต่รับเฉพาะเท่าที่รับมาจากพ่อแม่ ตัวอย่างเช่น พ่อแม่ทันทีที่เสียชีวิตลงมีมรดกเป็นเงินสด 1,000,000 บาท แต่พ่อแม่มีหนี้สิน 2,000,000 บาท มรดกก็ตกกับลูกเพียง 1,000,000 บาท เมื่อเจ้าหนี้มาทวงกับลูกก็ทวงได้เพียง 1,000,000 บาท ส่วนที่เหลืออีก 1,000,000 ก็ทวงจากลูกไม่ได้อีก

ตัวอย่าง

นายประยุทธ์ในระหว่างที่มีชีวิตอยู่ได้กู้ยืมเงินนายเขียว จำนวนเงิน 1,000,000 บาท ปรากฎว่า นายประยุทธ์ได้เสียชีวิตลง นายเขียวซึ่งเป็นเจ้าหนี้ก็ฟ้องทายาททุกคนที่มีสิทธิรับมรดกของนายประยุทธ์ นายประยุทธ์ ไม่มีทรัพย์สินใดๆ ทายาทของนายประยุทธ์ก็ต่อสู้คดีว่า ตนเองไม่ได้รับทรัพย์สินใดๆจากนายประยุทธ์ คดีนี้ศาลตัดสินในทำนองว่า นายเขียวมีสิทธิฟ้องทายาททุกคน เพียงแต่ ทายาทเมื่อไม่ได้รับมรดกก็ไม่ต้องรับผิดเป็นส่วนตัว นั้นหมายความว่า เจ้าหนี้ฟ้องทายาทได้ แต่จะไปเอาจากทรัพย์สินส่วนตัวของทายาท จะทำได้ไม่ได้

ผู้สนับสนุน (คลิกชมและซื้อสินค้า เท่ากับสนับสนุนทนายวิรัช)

ต้องการให้ทนายวิรัช ดำเนินการเรื่อง มรดก ผู้จัดการมรดก ต้องทำอย่างไร

การให้บริการด้าน มรดก ผู้จัดการมรดก ของทนายวิรัช ให้บริการอย่างดี และมีความเป็นสากล สนองตอบลูกความทุกท่านอย่างมิตรภาพ ให้คำแนะผลดีผลร้ายของการจัดทำเรื่องมรดกให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับลูกความ

สามารถติดต่อทนายวิรัชได้ที่

  • สายด่วน โทร 0812585681 หรือ
  • add line @tanaiwirat

ทนายวิรัชขอมอบสิทธิพิเศษดังนี้

  • ให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์
  • นัดหมายได้ทางโทรศัพท์ หรือ ไลน์ จัดส่งเอกสารได้
  • ยื่นคำร้องจัดการมรดกให้อย่ารวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
  • คำสั่งศาล 1 ชุดฟรี ไม่คิดมูลค่า

ประวัติผู้เขียน

▼ ติดตามผมออนไลน์ได้ที่นี่:

►YouTube –https://www.youtube.com/tanaiwiratdotcom

► Facebook – http://facebook.com/tanaiwiratdotcom

► Twitter – http://twitter.com/tanaiwirat

►Line – https://goo.gl/BeprPy

► Website –https://www.tanaiwirat.com/

=====

▼ สนใจผลงานต่างๆ ราคาพิเศษ มาได้ที่ inbox page:

► Facebook: http://m.me/tanaiwiratdotcom

=====

▼ สนใจผลงาน ในรูปแบบต่างๆ ได้ที่:

►สมัครสมาชิกปรึกษากฎหมายรายปี (สอบถามได้) https://goo.gl/BeprPy

►ปรึกษากฎหมายทางโทรศัพท์ (สอบถามได้) https://goo.gl/BeprPy

►ประกันรถยนต์ ประกันสุขภาพ (สอบถามได้) https://goo.gl/BeprPy

►ศูนย์จัดการมรดก (สอบถามได้)https://goo.gl/BeprPy

►Notary public (สอบถามได้) https://goo.gl/BeprPy

►พ็อคเก็ตบุ๊ค กฎหมายหลายรส 2 https://goo.gl/BeprPy

หรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่: OFFICE : 0812585681

ความเป็นมาของ กฎหมายมรดก

ในประเทศไทย ตั้งแต่เรียกตัวเองว่า ‘ประเทศสยาม’ มีการบัญญัติกฎหมายลักษณะมรดกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เมื่อถึงแผ่นดินในสมัยของ สมเด็จพระเอกาทศรถ พระมหากษัตริย์ องค์ที่ 19 ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ก็ได้ใช้กันต่อมาเรื่อยๆ จนมีการแก้ไขซึ่งเป็นปัจจุบัน นั้นก็คือ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 6 โดยเริ่มประกาศใช้กับคนไทยทุกคนตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2478 เป็นต้นมา

https://www.facebook.com/tanaiwiratdotcom

ในประเทศไทยเป็นประเทศที่ใช้ระบบประชาธิปไตย อนุญาตให้ประชาชนมีกรรมสิทธิในทรัพย์สินของตนเอง (เจ้าของทรัพย์สิน) ซึ่งได้กล่าวไว้ใน ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1336 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เจ้าของกรรมสิทธิมีสิทธิใช้สอยและจำหน่ายทรัพย์สินขอตนและได้ซึ่งดอกผลแห่งทรัพย์สินนั้นกับมีสิทธิติดตามและเอาคืน ซึ่งทรัพย์สินของตนจากบุคคลผู้มีสิทธิจะยึดถือไว้ และมีสิทธิขัดขวางมิให้ผู้อื่นสอดเข้าเกี่ยวข้องกับทรัพย์สินนั้นโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งหมายความว่า เจ้าของมีสิทธิใช้ของตนเอง ขาย และรับดอกเบี้ย หรือดอกผล มีสิทธิติดตามเอาคืนหากมีใครมาเอาไป และมีสิทธิขัดขวางไม่ให้ใครมาเอาทรัพย์สินของตนไปได้

กฎหมายได้รับรองสิทธิของความเป็นเจ้าของกรรมสิทธิในระหว่างที่มีชีวิตแล้ว ก็ยังได้เพิ่มการรับรองให้เจ้าของกรรมสิทธิได้ตกทอดกรรมสิทธิไปยังทายาท เช่น ลูก พ่อแม่ พี่น้อง ปู่ย่า ตายาย หรือบุคคลที่เจ้าของจะยกให้ด้วยการทำพินัยกรรม ซึ่งเป็นเจตนาของการบัญญัติกฎหมายมรดกตั้งแต่โบราณ

นอกจากนี้แล้ว ประเทศไทยมีความหลากหลายทางเชื้อชาติ ประเพณี ศาสนาความเชื่อที่แตกต่างกัน ดังจะเห็นได้จากจังหวัดทางภาคใต้ คือ จังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล มีการนับถือศาสนาอิสลาม เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับศาสนา จึงมีการบัญญัติ พระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามในเขตจังหวัดปัตตนี นราธิวาส ยะลา และสตูล ทั้งนี้ใน มาตรา 3 ได้กำหนดวิธีการวินิจฉัยคดีไว้ว่า ในการวินิจฉัยชี้ขาดคดีแพ่งเกี่ยวด้วยเรื่องครอบครัวและมรดกอิสลาม ศาสนิกชนของศาลชั้นต้นในจังหวัด ปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล ซึ่งอิสลามศาสนิกชนเป็นทั้งโจทก์ จำเลย หรือเป็นผู้เสนอคำขอในคดีที่ไม่มีข้อพิพาท ให้ใช้กฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกบังคับแทนบทบัญญัติแห่งกฎหมายแพ่งพาณิชย์ว่าด้วยการนั้น เว้นแต่บทบัญญัติว่าด้วยอายุความ ทั้งนี้ไม่ว่ามีมูลคดีเกิดขึ้นก่อนหรือหลังวันใช้พระราชบัญญัตินี้

หมายความว่า หากคดีที่เกิดขึ้นใน ปัตตานี นราธิวาส ยะลาและสูตล หากคู่กรณีเป็นอิสลามก็ให้ใช้กฎหมายอิสลาม ไม่ใช้กฎหมายแพ่งปกติ แต่ไม่รวมถึงอายุความ และให้รวมถึงคดีที่เกิดขึ้นก่อนหรือหลังที่มีกฎหมาย

ผู้สนับสนุน (คลิกชมและซื้อสินค้า เท่ากับสนับสนุนทนายวิรัช)

https://bit.ly/3yybH5W

ต้องการให้ทนายวิรัช ดำเนินการเรื่อง มรดก ผู้จัดการมรดก ต้องทำอย่างไร

การให้บริการด้าน มรดก ผู้จัดการมรดก ของทนายวิรัช ให้บริการอย่างดี และมีความเป็นสากล สนองตอบลูกความทุกท่านอย่างมิตรภาพ ให้คำแนะผลดีผลร้ายของการจัดทำเรื่องมรดกให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับลูกความ

สามารถติดต่อทนายวิรัชได้ที่

  • สายด่วน โทร 0812585681 หรือ
  • add line @tanaiwirat

ทนายวิรัชขอมอบสิทธิพิเศษดังนี้

  • ให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์
  • นัดหมายได้ทางโทรศัพท์ หรือ ไลน์ จัดส่งเอกสารได้
  • ยื่นคำร้องจัดการมรดกให้อย่ารวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
  • คำสั่งศาล 1 ชุดฟรี ไม่คิดมูลค่า

ประวัติผู้เขียน

▼ ติดตามผมออนไลน์ได้ที่นี่:

►YouTube –https://www.youtube.com/tanaiwiratdotcom

► Facebook – http://facebook.com/tanaiwiratdotcom

► Twitter – http://twitter.com/tanaiwirat

►Line – https://goo.gl/BeprPy

► Website –https://www.tanaiwirat.com/

=====

▼ สนใจผลงานต่างๆ ราคาพิเศษ มาได้ที่ inbox page:

► Facebook: http://m.me/tanaiwiratdotcom

=====

▼ สนใจผลงาน ในรูปแบบต่างๆ ได้ที่:

►สมัครสมาชิกปรึกษากฎหมายรายปี (สอบถามได้) https://goo.gl/BeprPy

►ปรึกษากฎหมายทางโทรศัพท์ (สอบถามได้) https://goo.gl/BeprPy

►ประกันรถยนต์ ประกันสุขภาพ (สอบถามได้) https://goo.gl/BeprPy

►ศูนย์จัดการมรดก (สอบถามได้)https://goo.gl/BeprPy

►Notary public (สอบถามได้) https://goo.gl/BeprPy

►พ็อคเก็ตบุ๊ค กฎหมายหลายรส 2 https://goo.gl/BeprPy

หรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่: OFFICE : 0812585681